ลงทะเบียน2013-6-27
ล่าสุด2025-4-12
นิสิตสัมพันธ์
- กระทู้
- 1
- พลังน้ำใจ
- 11741
- Zenny
- 2526
- ออนไลน์
- 977 ชั่วโมง
|
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑4 U5 k( E( e0 L
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑ ได้ผ่านความเห็นชอบของวุฒิสภา และ
4 z) F6 c8 O cสภาผู้แทนราษฎรได้ประชุมเมื่อวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อ : @' @9 }- ]; d* K4 G: }
วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑ และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
+ R* E3 N; h/ a. nทำให้พระราชบัญญัตินี้จะมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด 180 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 7 k2 x+ e0 g, X1 j4 d# P
คือวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๑ พ.ร.บ. นี้เป็นกฎหมายคุ้มครองแรงงานใช้บังคับในภาคเอกชน
9 [3 m, Q5 u- H: n2 X5 ?
& Q+ F( i% C% O& z) s+ X3 g- k0 Y! N6 M+ k9 L1 y6 o* n
สาระสำคัญ1 {, s% k' p5 @2 U$ G( q8 O2 p
๑. กำหนดเวลาทำงานปกติในทุกประเภทงานไม่เกิน ๘ ชั่วโมง/วัน และไม่เกิน ๔๘ ชั่วโมง/สัปดาห์ (เดิมกำหนดตามประเภทงาน) เว้นแต่งานที่อาจเป็นอันตรายไม่เกิน ๗ ชั่วโมง/วัน
4 ~ D# c+ u' `, K7 v- M9 s6 X0 P* _และไม่เกิน ๔๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
7 v9 a7 s' ~( D) O9 E9 @, e ๒. ให้จัดวันหยุดประจำสัปดาห์ไม่น้อยกว่า ๑ วัน/สัปดาห์ วันหยุดตามประเพณีไม่น้อยกว่า / K3 S1 y2 a2 [/ d8 p
๑๓ วัน/ปี และวันหยุดพักผ่อนประจำปีไม่น้อยกว่า ๖ วันทำการ/ปี วันหยุดตามประเพณีให้กำหนดจากวันหยุด/ s( q8 Y, ]3 T5 i- ?1 N% I
ราชการประจำปี วันหยุดทางศาสนาหรือขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งท้องถิ่น "ในกรณีลักษณะงานไม่อาจหยุด
" ~" K1 ^3 F" K$ [0 g1 @2 |5 W. aตามประเพณีได้ให้ตกลงกันหยุดในวันอื่นชดเชย หรือจ่ายค่าทำงานในวันหยุดแทน"; }- ~7 w5 k" x2 h
๓. ให้สิทธิลากิจ ลาเพื่อทำหมัน และลาเพื่อฝึกอบรมหรือพัฒนาความรู้ความสามารถ เพิ่มจาก
2 K$ L0 m0 v- q4 Bสิทธิลาป่วย ลาเพื่อคลอดบุตร และลาเพื่อรับราชการทหาร1 ~" R z# C. H) R
๔. กำหนดพิกัดน้ำหนักขั้นสูงที่ให้ลูกจ้างยก แบก หาม เพื่อคุ้มครองทั้งลูกจ้างชาย หญิง
9 A- Z6 r, h v) }; j1 r2 nและเด็กและเป็นการสอดคล้องกับอนุสัญญา ILO ฉบับที่ 127. T4 a% F! d N6 B5 V; a% L
๕. ขยายการคุ้มครองแรงงานหญิง โดยห้ามใช้ลูกจ้างหญิงมีครรภ์ทำงานที่เป็นอันตรายต่อ / a4 V, [7 `) s; d% _
สภาวะการตั้งครรภ์ ห้ามเลิกจ้างหญิงเพราะเหตุมีครรภ์
& Z, y2 i" T' W! \ I9 I ๖. ขยายอายุขั้นต่ำของลูกจ้างเด็กจาก 13 ปี เป็น 15 ปี เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา
# ^+ a/ L: |. E/ Z% `1 Nทรัพยากรมนุษย์ และอนุสัญญา ILO1 z( h- m1 L; p: i
๗. การจ้างเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี เป็นลูกจ้าง ต้องแจ้งต่อพนักงานตรวจแรงงานภายใน 15 วัน4 S0 s J, J! b
จัดทำบันทึกสภาพการจ้างกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเก็บไว้ ณ สถานประกอบกิจการ และแจ้งการสิ้นสุด/ N. y' \& T+ V9 b
การจ้างต่อพนักงานตรวจแรงงานภายใน 7 วัน เพื่อให้ทราบความเคลื่อนไหวของเด็ก ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อ/ R( l' I$ K) Q7 R/ b! X
การคุ้มครองดูแลแรงงานเด็กผู้ด้อยโอกาส
6 [: e, V, W: R" c: q ๘. ให้ลูกจ้างเด็กมีเวลาพักไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง/วัน หลังจากทำงานมาแล้วไม่เกิน 4 ชั่วโมง9 Y( g9 P. ?; G$ w
และใน 4 ชั่วโมงนั้นให้มีเวลาพักตามที่นายจ้างกำหนดเพื่อให้เด็กได้มีโอกาสพักผ่อนเปลี่ยนอิริยาบถ ขณะที่
) _3 M8 v# h' N) |- uกำหนดเวลาพักลูกจ้างทั่วไปไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง/วัน ซึ่งจะจัดเวลาพักครั้งเดียวหลังจากทำงานมาแล้วไม่เกิน
( O# @& j }7 T! q% c7 \, p5 ชั่วโมงก็ได้ หรือจัดเป็นช่วง ๆ ก็ได้โดยรวมเวลาพักทุกช่วงแล้วต้องไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง เพื่อให้สอดคล้อง
; I& H) W) C# `# k4 [$ K. V9 n' t) gกับทางปฏิบัติ
$ I$ r# t2 d2 I+ M2 e ๙. ห้ามใช้ลูกจ้างเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี ทำงานในเวลาวิกาล เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากอธิบดี
" @* A" l1 z& I9 G3 dห้ามทำงานล่วงเวลา ทำงานในวันหยุด และงานบางประเภทที่เป็นผลร้ายต่อเด็ก ขณะที่ลูกจ้างทั่วไปนายจ้างให้
' q+ C5 h6 {! i* \; [' Q3 xทำงานล่วงเวลาหรือทำงานในวันหยุดได้ ถ้าลูกจ้างยินยอม โดยมีชั่วโมงทำงานไม่เกินกว่าที่กฎหมายกำหนด ; U1 ~- i3 h$ F8 g0 p
เว้นงานบางประเภทที่นายจ้าสั่งให้ลูกจ้างทำงานทำงานได้เท่าที่จำเป็น แต่ห้ามใช้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลา หรือ6 g1 X0 Q: @% [4 R2 `% _+ w
ในวันหยุดในงานที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง
2 q) X; ]2 T6 r# d' B ๑๐. การคุ้มครองค่าตอบแทนในการทำงาน ได้กำหนดประเภทหนี้ที่นำมาหักค่าตอบแทน+ d/ _+ Z" O+ Y! S2 i: l; ]
ในการทำงานได้ และกำหนดเงื่อนไขการจ่ายเงินช่วยเหลือการดำรงชีพของลูกจ้างไม่น้อยกว่า 50% ของค่าจ้าง
4 `( A- p( y% F, d# i: r- Cในกรณีนายจ้างหยุดกิจการชั่วคราว
; ?# u% ?4 t% ~ ๑๑. ปรับปรุงโครงสร้างคณะกรรมการค่าจ้างให้มีขอบข่ายที่กว้างขึ้นกว่าเดิม และปรับปรุง
( N$ n3 i; | k* _. Sโครงสร้างอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ โดยมีอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ 2 ระดับ คือ
5 `* {. {3 I" o2 I' |9 S& b$ D% J ๑๑.๑ อัตราค่าจ้างขั้นต่ำพื้นฐานซึ่งคณะกรรมการค่าจ้างกำหนดเพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการ
& B2 s5 a5 G! H8 ~( i( ], f+ }กำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ1 \3 Z! H* q6 o/ R
๑๑.๒ อัตราค่าจ้างขั้นต่ำซึ่งคณะกรรมการค่าจ้างกำหนดให้ใช้เฉพาะกิจการประเภทใด4 Y, }4 M3 A) `# U' k$ v
ประเภทหนึ่ง หรือ ทุกประเภทหรือในท้องที่ใดท้องที่หนึ่งก็ได้ ซึ่งมีอัตราไม่ต่ำกว่าอัตราค่าจ้าง
/ H1 i7 I p/ h9 V5 C$ M/ Q( eขั้นต่ำพื้นฐาน ถ้าไม่มีการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำในท้องที่ใด ให้ถืออัตราค่าจ้างขั้นต่ำ4 H0 e* V1 }0 Y$ i% |0 a, p
พื้นฐานเป็นอัตราค่าจ้างขั้นต่ำของท้องที่นั้น8 \5 l: Z/ o" r0 a' ?
๑๒. กำหนดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการ ได้แก่ คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานซึ่งเป็น
% i/ j* n7 W& b3 g# d0 y( Kองค์กรระดับชาติ เพื่อกำหนดนโยบายสวัสดิการระดับชาติ และให้มีคณะกรรมการสวัสดิการประจำสถาน
B6 O4 v. O4 @2 c, i0 A, J2 K# dประกอบกิจการเพื่อร่วมประชุมปรึกษาหารือกับนายจ้างเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
$ z0 @7 b% b8 G6 A& C* Z3 f7 |และควบคุมดูแลการจัดสวัสดิการที่นายจ้างจัดให้แก่ลูกจ้าง2 i( ?4 `$ P3 z3 o0 G! p3 ~! E* M- n
๑๓. ให้มีคณะกรรมการความปลอดภัยระดับชาติ เพื่อกำหนดทิศทางบริหารความปลอดภัย
9 Y5 T6 h+ ~# J. @1 ], f! Wอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และให้มีองค์กรเอกชนให้บริการทางด้านวิชาการและเทคนิคแก่, ~9 s z4 y# Q3 K
สถานประกอบกิจการได้ภายใต้การควบคุมดูแลของรัฐ* p) f( M% H6 o' ?, v8 s8 u
๑๔. กำหนดห้ามนายจ้างสั่งพักงานเพื่อสอบสวนความผิดของลูกจ้าง เว้นแต่มีข้อบังคับ
7 [6 k0 q+ J+ ]; o2 k6 s) bหรือข้อตกลงกำหนดให้มีการพักงานได้ แต่นายจ้างจะสั่งพักงานได้ไม่เกิน 7 วัน และต้องจ่ายเงินในช่วงพักงาน
7 V4 O X9 P$ g; n5 c# F, `& ^ตามอัตราที่กำหนดซึ่งไม่ต่ำกว่า 50% ของค่าจ้าง
1 d! }2 ^# M( o3 ^/ {; X2 G e, G ๑๕. กำหนดอัตราค่าชดเชยกรณีเลิกจ้างเป็น 5 อัตรา คือ
" G4 }6 W$ I: d' I) W% ] ทำงานครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี ได้ค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน
' u9 d( z/ J1 e; V, r5 v ทำงานครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี ได้ 90 วัน 0 d* G7 ^( r% y' C+ ?$ O
ทำงานครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี ได้ 180 วัน 5 m1 Q2 o) z5 ?( ]8 Z
ทำงานครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี ได้ 240 วัน : i; N8 [* f8 R. h8 j! D+ ?. z+ ^
ทำงานครบ 10 ปี ขึ้นไปได้ 300 วัน เว้นแต่เข้าข้อยกเว้น ให้ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามที่
6 O3 M- N; x8 ?2 x$ t' w กฎหมายกำหนด ทั้งนี้เพื่อให้ความคุ้มครองลูกจ้างที่ทำงานมานาน ซึ่งโอกาสที่จะหา
* M/ Y' h) k$ u. P" s/ I งานทำใหม่เป็นไปได้ยาก% f6 c6 L. U- U, D/ N
๑๖. กำหนดให้มีการจ่ายค่าชดเชยพิเศษนอกเหนือจากค่าชดเชยปกติ กรณีนายจ้างเลิก เพราะ
! x/ L1 i2 z. ]0 E; _5 Tปรับปรุงหน่วยงานกระบวนการผลิต เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีโดยลูกจ้างต้องทำงานมาครบ 6 ปี
# }7 F: s* t8 B$ |, ]ขึ้นไปและได้ค่าชดเชยพิเศษปีละไม่น้อยกว่า 15 วัน รวมแล้วไม่เกิน 360 วัน
; I$ s: Z( X! Y: K% g$ a" s5 a ๑๗. ให้การคุ้มครองลูกจ้างกรณีนายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการไปตั้งท้องที่อื่นซึ่งมีผล [3 x3 R8 x) d3 H) F
กระทบสำคัญต่อการดำรงชีพตามปกติของลูกจ้างหรือครอบครัว โดยให้นายจ้างบอกกล่าวล่วงหน้าและให้ลูกจ้าง
2 @8 M( W4 |# Q! jบอกเลิกสัญญาจ้างได้ถ้าไม่ประสงค์จะย้ายตาม โดยมีสิทธิได้รับค่าชดเชยพิเศษเป็นเงินช่วยเหลือ 50% ของ2 P; X& ~+ N4 r4 V" L M
ค่าชดเชยปกติ! P' D% u. N" Y
๑๘. จัดตั้งกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง โดยให้นายจ้างที่ไม่ได้จัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ# ~5 U3 A8 \. g2 \
ส่งเงินสมทบกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้างเท่ากับจำนวนเงินสะสมที่หักจากค่าจ้างของลูกจ้างนำส่งเข้ากองทุน $ a9 O1 U. }+ n' V
เพื่อจ่ายให้แก่ลูกจ้างเมื่อสิ้นสุดการจ้างเจตนารมณ์ในการจัดตั้งกองทุนนี้เพื่อสร้างหลักประกันในการทำงาน& v* S5 @4 |9 Z. q
ป้องกันมิให้มีการย้ายงานบ่อยครั้ง และเป็นการส่งเสริมระบบการออมทรัพย์ของลูกจ้าง) f7 z7 c& h; G
๑๙. ห้ามเรียกเงินประกันจากลูกจ้างเว้นแต่ลูกจ้างจะทำงาน เกี่ยวกับการเงินและทรัพย์สิน 6 P8 D5 y& B d' Z( H8 }" q
เพื่อป้องกันมิให้นายจ้างแสวงหาประโยชน์จากลูกจ้างในทางมิชอบ
4 x" h) z, X0 e' R ๒๐. กำหนดให้บรรดาเงินตาม พ.ร.บ. นี้ที่นายจ้างค้างจ่ายลูกจ้างและเงินสะสม เงินสมทบ, Q$ X5 E3 F2 T3 n. k
กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้างเป็นหนี้บุริมสิทธิลำดับเดียวกับภาษีอากร เพื่อคุ้มครองสิทธิของลูกจ้างในการได้รับ
a4 c# e9 j# [& \0 ~" F' U3 Cชำระหนี้มิให้ถูกเจ้าหนี้ในลำดับอื่นขอรับไปหมด1 D0 i* \% ~+ q- L
๒๑. การรับเหมาค่าแรง ให้เจ้าของสถานประกอบกิจการและผู้รับเหมาค่าแรงต่างมีฐานะเป็น
# ]8 Q8 B1 A8 R- P3 W c" @" jนายจ้างของลูกจ้างที่ผู้รับเหมาค่าแรงจัดเหมา
& R4 O% A& D. R0 z" t2 J [4 } ๒๒. ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงนายจ้าง ให้นายจ้างใหม่รับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ ที่นายจ้างเดิมเคยมี% z' } Z; S0 Z0 `4 q u) z; l! h0 T
ต่อลูกจ้างทุกประการ เพื่อเป็นการรับรองสิทธิของลูกจ้างมิให้ถูกลดลงเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงตัวนายจ้าง
$ ]; q/ y, y* \$ }" i. ^ ๒๓. กำหนดให้นายจ้างปฏิบัติต่อลูกจ้างตามบทบัญญัติ ป.พ.พ. บรรพ 3 ลักษณะ 6 ว่าด้วยจ้าง! t/ o8 b7 e' K2 A9 ~$ l
แรงงานด้วย เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถช่วยเหลือทางคดีแก่ลูกจ้างได้
7 L/ @) p: |. k+ y5 h8 S$ d8 s ๒๔. กำหนดเงื่อนไขการบอกกล่าวล่วงหน้า เพื่อเลิกสัญญาจ้างที่ไม่มีกำหนดระยะเวลา และ* k; G. p' S' M- n+ k
ถ้านายจ้างเป็นฝ่ายบอกกล่าวล่วงหน้า จะต้องระบุเหตุผลในการบอกเลิกสัญญาจ้างด้วย ถ้าไม่ระบุไว้นายจ้าง
- u7 E' [! v7 s% a$ tจะยกข้อยกเว้นขึ้นอ้างในภายหลังเพื่อไม่จ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างไม่ได้
& \7 H5 x$ D# s" j9 D2 ~ ๒๕. กำหนดให้นายจ้างปฏิบัติต่อลูกจ้างหญิงและชายโดยเท่าเทียมกันในการจ้างงาน เว้นแต่
' T) N! ?& S. W" _/ [: I( Uลักษณะหรือสภาพของงาน ไม่อาจปฏิบัติเช่นนั้นได้เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติรัฐธรรมนูญที่กำหนดให้+ A* t. k" X4 t* V3 f |! O
ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน
. F2 M/ K+ h/ {; k9 R; C5 }6 u ๒๖. ห้ามนายจ้าง หัวหน้างาน ผู้ควบคุมงาน หรือผู้ตรวจงานกระทำการล่วงเกินทางเพศต่อ5 V% W% s, |9 t. x' y
ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงหรือเด็ก เพื่อเป็นการป้องปรามมิให้บุคคลดังกล่าวใช้อำนาจในทางไม่ชอบโดยการกล่าว, O7 J1 Y9 m. A9 z
ถ้อยคำหยาบคาย วิพากษ์วิจารณ์ทางเพศ ลวนลาม ซึ่งพฤติการณ์บางอย่างไม่รุนแรงถึงขั้นอนาจาร แต่ไม่เหมาะสม5 a0 Q: q# e/ m- V, u! A
ที่จะปฏิบัติต่อลูกจ้างหญิงและเด็ก
! V. v0 q" {+ C' H# d5 C ๒๗. ปรับปรุงบทกำหนดโทษจากเดิมที่กำหนดโทษอัตราเดียวเป็นการกำหนดโทษตาม
! O* ~5 s' M& \, iความหนักเบาของความผิดที่ได้กระทำ โดยมีอัตราโทษสูงสุดจำคุกไม่เกิน ๑ ปี หรือปรับไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท
1 ]3 y/ n. l8 O% m. aหรือทั้งจำทั้งปรับ และโทษต่ำสุดปรับไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท และให้อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานและ+ J" q0 K7 p8 h3 U
ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากบุคคลดังกล่าวมีอำนาจเปรียบเทียบปรับการกระทำความผิดตาม
) b- x# Q9 a$ w; t" Uพ.ร.บ. นี้ได้ตามที่เห็นสมควร |
|